NOT KNOWN FACTS ABOUT สงครามในพม่า

Not known Facts About สงครามในพม่า

Not known Facts About สงครามในพม่า

Blog Article

ดร.ศรีประภา กล่าวด้วยว่า ควรทบทวนนโยบายรัฐไทย เพราะเราไม่มีความชัดเจนเลย ประเทศอื่นในอาเซียนเขาชัดเจนกว่า บางประเทศเขาไม่ยอมที่รัฐบาลเข่นฆ่าประชาชน หรือบางประเทศประกาศตนชัดว่าเห็นใจพม่า ถึงเวลาแล้วที่เรามีรัฐบาลใหม่ มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนใหม่ จึงควรทบทวนนโยบายด้านพม่า

เกิดอะไรขึ้นที่ชายแดนไทย-เมียนมา บีบีซีไทยรวบรวมข้อมูลจากการรายงานของผู้สื่อข่าวในพื้นที่ และคำชี้แจงของทางการไทย

“ซึ่งผมมองว่ามันน่าจะมีการกำหนดรัศมีเขตห้ามบินของทหารพม่า เพื่อความปลอดภัยของพลเรือน ที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสงครามในครั้งนี้ ซึ่งมีทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ คนชรา คนพิการ คนไข้คนป่วย ต้องมาเจอกับความสูญเสียนี้ด้วย ที่ผ่านมา ก็เคยเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของทหารพม่าบินเลยเข้ามาในเขตน่านฟ้าของประเทศไทยในสมัยรัฐบาลประยุทธ์ ซึ่งก็มีการแก้ตัวกันขุ่นๆ ว่าไม่รู้ ซึ่งตนมองว่านี่เป็นการแก้ตัวแทนให้ทางทหารพม่ามากกว่า โดยที่พม่าไม่ได้ออกมาพูดแม้แต่คำเดียว แทนที่จะออกมาปกป้องอธิปไตย แต่กลายมาเป็นการอธิบายแทนทหารพม่า โดยที่ทางพม่าไม่ได้ออกมาตอบโต้อะไรสักอย่าง ดังนั้น ผมอยากเสนอให้ทางอาเซียน และประชาคมโลก เข้ามาดำเนินการกดดัน จัดการปัญหาสงครามในพม่าไปเลย โดยเฉพาะเข้าไปจัดการปัญหาเรื่องของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า อยากให้เข้าไปกดดัน หรือนำกองกำลังของนานาชาติเข้าไปควบคุมเลย”

Your browser isn’t supported any longer. Update it to find the finest YouTube experience and our most recent attributes. Learn more

ความขัดแย้งด้านเชื้อชาติขนาดใหญ่ในรัฐกะชีน รัฐกะยา รัฐกะเหรี่ยง รัฐยะไข่และรัฐฉาน

เหล่านี้เป็นสัญญาณที่บ่งชี้ชัดว่า แต่ละฝ่ายได้จัดวางกำลัง เพื่อเตรียมรับมือภัยสงครามที่กำลังจะแผ่ขยาย ลุกลามจากยูเครน อิสราเอลมาสู่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เรียบร้อยแล้ว

“หากความพ่ายแพ้ในที่นี่ มันหมายถึงว่า ทหารพม่ายอมเจรจากับฝ่ายต่อต้านหรือนักรบกลุ่มชาติพันธุ์หลาย ๆ พื้นที่ที่ตนเองพ่ายแพ้หรือยอมจำนน และยอมให้กลุ่มที่ชนะยึดครองพื้นที่ไปก่อน หนทางนี้มีความเป็นไปได้สูง ซึ่งกำลังเกิดขึ้นแล้วในบางพื้นที่ และคงเกิดขึ้นต่อเนื่องเพราะทหารพม่าในหลายพื้นที่เริ่มยอมรับความพ่ายแพ้และยอมวางอาวุธ โดยทางทหารพม่าคงยอมให้อีกฝ่ายดูแลพื้นที่ไปเลย และถอนกำลังออกมากระจุกกันอยู่ที่ใจกลางของประเทศซึ่งเป็นฐานที่มั่นสำคัญแทน

“จีน” รู้ดีว่า พม่าเป็นประเทศที่มีกลุ่มชาติพันธุ์มากมาย เป็นไปไม่ได้ที่จะมีกลุ่มอำนาจเดียวปกครองพม่าได้ เพราะแต่ดั้งแต่เดิมพม่าก็ปกครองแบบ ประชาชนในพม่า “สหภาพ” อยู่แล้ว

การสร้างสมดุลในเบื้องต้น คือ เราต้องไม่ยอมให้สหรัฐฯ และบรรดาชาติตะวันตก ปั่นกระแสความขัดแย้งกับ จีน-รัสเซีย ได้เด็ดขาด เหมือนที่ทำกับฟิลิปปินส์ สำเร็จมาแล้ว และตอนนี้กำลังเดินหน้าปั่นความขัดแย้งระหว่างเวียดนามกับจีนต่อ ตามแผนแม่บท “ยุทธศาสตร์อินโดแปซิฟิก” ของสหรัฐฯ ซึ่งมีการเผยแพร่ออกมาก่อนหน้านี้ !

เช่นเดียวกับพื้นที่ตรงข้าม อ.อุ้มผางซึ่งเหลือพื้นที่ทางทหารของกองทัพพม่าอีกเพียงเล็กน้อย 

สมเด็จพระนเรศวรทรงพาทหารรักษาพระองค์ และเอาพระองค์ออกนำหน้าทรงคาบพระแสงดาบขึ้นปล้นค่ายพระเจ้าหงสาวดี แต่พวกพม่าต่อสู้และป้องกันไว้เข้าค่ายไม่ได้

พบเมืองสแกมเมอร์ทุนจีน-กะเหรี่ยงเทาแห่งใหม่ ติดชายแดน อ.พบพระ จ.ตาก

สำหรับประเทศไทย เพื่อนบ้านใกล้ชิด พรมแดนติดกับพม่า ถ้าไม่อยากให้ไทย กลายเป็นสมรภูมิรบทางบก และทางทะเล ก็จำต้องสร้างสมดุลทางความสัมพันธ์ และจัดวางตำแหน่งของตนเองให้ถูกต้อง

ผศ.ดร.ลลิตา หาญวงษ์ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องเมียนมา จากคณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ กล่าวกับบีบีซีไทยว่า รัฐบาลไทยควรพิจารณาเรื่องนี้อย่างระมัดระวัง เพราะนี่คือการอนุญาตให้ประเทศเพื่อนบ้านใช้ดินแดนที่อยู่ในเขตอำนาจอธิปไตยของไทย นอกจากนี้ ถ้าหากไทยทำตามการร้องขอของรัฐบาลทหารเมียนมาครั้งนี้ จะส่งผลให้ถูกประณามจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งกำลังจับตามองบทบาทของไทยต่อปัญหาความขัดแย้งในเมียนมา

Report this page